เหตุแห่งวิมุติ 5 ประการ : บทนำ (1/6)

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการเป็นไฉน

ที่มา : http://etipitaka.com/read/thai/22/20/

5 ways to release from the suffering : Article 5 th (6/6)

Buddha said :

” Look! All who have precepts.

You can achive your mental by meditation (achieve Dhamma mental by meditatin, it have 9 level), get it frimly, clear, enlightened, learning in detail with wisdom. when you understand you will have delighted.

You have the delighted you will have appreciate.

You have the appreciate your body will have peaceful.

The body have peaceful you will have happiness.

You have the happiness your minds will have firmly.

The minds have firmly you will achieve the nature minds (achieve Dhamma mental) and release from the suffering.

Look! All who have precepts

This is the 5 th way to release from the suffering. “

5 ways to release from the suffering : Article 4 th (5/6)

Buddha said :

” Look! All who have precepts.

You have analyze. By the words from the Bhudda or the friends that is teacher and have precepts that use to speech for you or the word from your learning, in detail, when you understand you will have delighted.

You have the delighted you will have appreciate.

You have the appreciate your body will have peaceful.

The body have peaceful you will have happiness.

You have the happiness your minds will have firmly.

The minds have firmly you will achieve the nature minds (achieve Dhamma mental) and release from the suffering.

Look! All who have precepts

This is the 4 th way to release from the suffering. “

5 ways to release from the suffering : Article 3 rd (4/6)

Buddha said :

” Look! All who have precepts.

You have memorize, have pray or have review. By the words from the Bhudda or the friends that is teacher and have precepts that use to speech for you or the word from your learning, in detail, when you understand you will have delighted.

You have the delighted you will have appreciate.

You have the appreciate your body will have peaceful.

The body have peaceful you will have happiness.

You have the happiness your minds will have firmly.

The minds have firmly you will achieve the nature minds (achieve Dhamma mental) and release from the suffering.

Look! All who have precepts

This is the 3 rd way to release from the suffering. “

5 ways to release from the suffering : Article 2 nd (3/6)

Buddha said :

” Look! All who have precepts.

You have speech for other people. By the words from the Bhudda or the friends that is teacher and have precepts that use to speech for you or the words from your learning, speech in detail, when you understand you will have delighted.

You have the delighted you will have appreciate.

You have the appreciate your body will have peaceful.

The body have peaceful you will have happiness.

You have the happiness your minds will have firmly.

The minds have firmly you will achieve the nature minds (achieve Dhamma mental) and release from the suffering.

Look! All who have precepts

This is the 2 nd way to release from the suffering. “

5 ways to release from the suffering : Article 1 st (2/6)

Buddha said :

” Look! All who have precepts.

Bhudda or Friends that have precepts who is the teacher have speech for you. You understand the speech from the Bhudda or the friends that is teacher and have precepts,you will have delighted.

You have the delighted you will have appreciate.

You have the appreciate your body will have peaceful.

The body have peaceful you will have happiness.

You have the happiness your minds will have firmly.

The minds have firmly you will achieve the nature minds (achieve Dhamma mental) and release from the suffering.

Look! All who have precepts

This is the 1 st way to release from the suffering. “

5 ways to release from the suffering : Introduction (1/6)

Buddha said :

” Look! All who have precepts.

5 ways to release from the suffering. It is 5 ways to make the minds of who have precepts, be conscious, have perseverance, have a purposeful heart who is still suffering got free from the suffering, who have sensuality got free from the sensuality. Or may achieve the nature minds (Dhamma mental), have the happiness from the excellent way to release that not use to be.What is this, 5 ways? “

วิธีละอาสวะ 7 ประการ : ประการที่ 7 (8/8)

“…ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อาสวะที่พึงละได้ด้วยการอบรม (การลงมือปฏิบัติให้เกิดผล) เป็นไฉน

ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว ย่อมอบรม สัมโพชฌงค์ (องค์แห่งปัญญา เครื่องตรัสรู้) คือ

1.สติ (ความระลึกได้)

2.ธัมมวิจยะ (การเลือกเฟ้นธรรม)

3.วิริยะ (ความเพียร)

4.ปิติ (ความอิ่มใจ)

5.ปัสสัทธิ (ความสงบ)

6.สมาธิ (การฝึกหัดศึกษาทางจิต)

7.อุเบกขา (ความวางเฉย)

อันอิงความสงัด อิงความคลายกำหนัด อิงความดับทุกข์ อันน้อมไปเพื่อความสละกิเลส

เพราะเมื่อภิกษุนั้น ไม่อบรม อาสวะ ที่ทำความยุ่งยากเดือดร้อนให้ ก็จะพึงเกิดขึ้น เมื่อเธออบรม อาสวะที่ทำความยุ่งยากเดือดร้อนให้ ก็จะไม่มี. นี้แล ภิกษุทั้งหลาย เรียกว่า อาสวะที่พึงละได้ด้วยการอบรม

ที่มา : http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/interest/part5.html

วิธีละอาสวะ 7 ประการ : ประการที่ 5 (6/8)

“…ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อาสวะที่พึงละได้ด้วยการงดเว้น เป็นไฉน ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว ย่อมเว้นช้างดุ ม้าดุ โคดุ สุนัขดุ งู ตอไม้ ที่ที่มีหนาม บ่อน้ำ เหว น้ำครำ หลุมโสโครก ภิกษุนั่งในอาสนะอันไม่สมควร คบมิตรชั่ว ย่อมถูกเพื่อนพรหมจารี ผู้รู้ เข้าใจไปในฐานะอันชั่ว เธอพิจารณาโดยแยบคายแล้ว ย่อมเว้นอาสนะอันไม่สมควรนั้น ที่เที่ยวไปอันไม่สมควร และมิตรชั่วเหล่านั้น

เพราะเมื่อเธอไม่เว้น อาสวะที่ทำความยุ่งยากเดือดร้อนให้ ก็จะพึงเกิดขึ้น เมื่อเธอเว้นอาสวะที่ทำความยุ่งยากเดือดร้อนให้ ก็จะไม่มี นี้แล ภิกษุทั้งหลาย เรียกว่า อาสวะที่พึงละได้ด้วยการงดเว้น…”

ที่มา : http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/interest/part5.html

วิธีละอาสวะ 7 ประการ : ประการที่ 3 (4/8)

“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อาสวะที่พึงละได้ด้วยการส้องเสพ เป็นไฉน

1.ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว จึงใช้สอยจีวร (ผ้านุ่งห่ม) เพียงเพื่อบำบัดความหนาว ความร้อน บำบัดสัมผัส อันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เสือกคลาน เพียงเพื่อปกปิดอวัยวะที่ให้เกิดความละอาย

2.เธอพิจารณาโดยแยบคายแล้ว จึงบริโภคบิณฑบาต (อาหาร) มิใช่เพื่อเล่น มิใช่เพื่อมัวเมา มิใช่เพื่อประดับ มิใช่เพื่อตกแต่ง เพียงเพื่อตั้งอยู่ได้แห่งร่างกายนี้ เพื่อยังชีวิต เพื่อระงับความลำบาก เพื่ออนุเคราะห์พรหมจรรย์ ด้วยคิดว่า ด้วยการบริโภคนี้ เราจักบำบัด ทุกขเวทนาเก่า ไม่ทำ ทุกขเวทนาใหม่ ให้เกิดขึ้น เราจักดำรงชีวิตได้ ความไม่มีโทษ และความอยู่เป็นผาสุกจักเกิดขึ้น

3.เธอพิจารณาโดยแยบคายแล้ว จึงใช้สอยเสนาสนะ (ที่นอนที่นั่ง) เพียงเพื่อบำบัดความหนาว ความร้อน บำบัดสัมผัส อันเกิดจากเหลือบ ยุง ลมแดด และสัตว์เสือกคลาน เพื่อบรรเทาอันตรายอันเกิดแต่ฤดูกาล และเพื่อยินดีในความหลีกเร้น

4.เธอพิจารณาโดยแยบคายแล้ว จึงบริโภคยารักษาโรค เพื่อบำบัดเวทนาเนื่องจากอาพาธต่าง ๆ อันเกิดขึ้นแล้ว เพื่อไม่มีความเจ็บไข้เป็นสำคัญ

เพราะเมื่อภิกษุไม่ต้องเสพปัจจัย 4 อาสวะที่ทำความยุ่งยากเดือดร้อนให้ ก็จะพึงเกิดขึ้น เมื่อส้องเสพปัจจัย 4 อาสวะที่ทำความยุ่งยากเดือดร้อนให้ ก็จะไม่มี. นี้แล ภิษุทั้งหลาย เรียกว่า อาสวะที่พึงละได้ด้วยการส้องเสพ…”

ที่มา : http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/interest/part5.html

วิธีละอาสวะ 7 ประการ : ประการที่ 2 (3/8)

“…ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อาสวะที่พึงละได้ด้วยความสำรวม เป็นไฉน

ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว เป็นผู้สำรวม ระวัง อินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ซึ่งเมื่อไม่สำรวมระวังแล้ว อาสวะ (กิเลสที่หมักดองสันดาน) ที่ทำความยุ่งยากเดือดร้อนให้ ก็จะพึงเกิดขึ้น เมื่อสำรวมระวังแล้ว อาสวะที่ทำความยุ่งยากเดือดร้อน ก็จะไม่มี นี้แล ภิกษุทั้งหลาย เรียกว่า อาสวะที่พึงละได้ดวยความสำรวม

ที่มา : http://www.larnbuddhism.com/tripitaka/interest/part5.html